5 SIMPLE TECHNIQUES FOR นมเวย์

5 Simple Techniques For นมเวย์

5 Simple Techniques For นมเวย์

Blog Article

The acceptability of milk and milk products in populations with a higher prevalence of lactose intolerance

 ไม่มีรสชาติอื่นให้เลือกรับประทานได้

เพื่อนๆ คนไหนที่กำลังหาผลิตภัณฑ์เสริมโปรตีนให้กับร่างกาย หรือลองเปิดใจให้กับเวย์โปรตีนแล้วแต่ ก็ต้องพบกับอุปสรรคหลายอย่าง ซึ่งหากย้อนกลับไปในช่วงสิบปีก่อน ตอนนั้นการจะหาเวย์ หรือนมโปรตีน ทานในประเทศไทยก็ยากพอสมควร ไหนจะมีขายแค่บางร้าน ไหนจะต้องเป็นยี่ห้อที่ได้รับการรับรองอย่างถูกต้อง วิธีการรับประทานที่ต้องเพียงพอกับร่างกายและคำนึงถึงระดับน้ำตาล หรือรสชาติที่หายังไงไม่ถูกปากสักที

รีวิว: คือดีมาก ๆ ๆ ถึงแม้กล่องภายนอกจะดูเละ ๆ แต่ภายในไม่เสียหาย ที่สำสัญรสชาติอร่อยมาก ๆ ๆ ตั้งแต่เคยกินเวย์มา คือกินง่าย ช็อคโกแลตแท้ ๆ อร่อยมาก ๆ ต่อไปคงกินแต่ยี่ห้อนี้แล้ว

สำหรับคนที่มีปัญหาน้ำหนักลดลง และอยากเพิ่มน้ำหนัก

ผสมเวย์โปรตีนในอาหารเย็น. มื้อสุดท้ายของวัน อย่าลืมเติมเวย์ผงในอาหาร กรดอะมิโนในร่างกายจะได้เพิ่มสูงระหว่างคุณนอนหลับพักผ่อน ทำให้สร้างกล้ามเนื้อต่อไปได้ไม่ขาดตอน

โดยเวย์แบบผง ๆ ส่วนใหญ่จะได้มาจาก “ของเหลือ” จากกระบวนการการผลิตชีสและนม เมื่อนำของเหลือที่เหลว ๆ ไปตากแห้ง ก็จะได้เจ้าพวกผง ๆ เวย์นี้เองครับ แต่เดี๋ยวนี้ มันไม่ได้มีแต่เวย์ที่ได้มาจากนมสัตว์เท่านั้น ยังมีเวย์ที่ได้จากพืชอย่าง ถั่วลันเตาหรือถั่วเหลืองกันอีกด้วย ซึ่งเวย์จากพืชจะมีข้อดีตรง ไม่มีน้ำตาลแลคโตสเหลืออยู่ในผงเวย์แน่ ๆ ใครที่เวลาทานนมแล้วปวดท้อง หรือไม่สามารถทานผลิตภัณฑ์ที่มาจากนมสัตว์ได้ ก็สามารถทานเวย์ที่ได้จากพืชได้อย่างสบายใจ ไร้กังวล และอีกข้อดีก็คือ มีราคาที่ค่อนข้างถูกมาก ๆ แต่รสชาติก็จะออกพืช ๆ ถั่ว ๆ หน่อย ๆ อาจจะไม่อร่อยเท่าพวกเวย์จากนมสัตว์นะครับ

แต่สำหรับตัวเลขของน้ำตาลในนมนั้น นมเวย์ อาจจะไม่ใช่ตัวตัดสินว่าเครื่องดื่มชนิดนี้ไม่ดี เพราะข้อมูลทางโภชนาการที่ระบุในฉลากหมายถึงน้ำตาลทุกประเภท ซึ่งอาจเป็น น้ำตาลปรุงแต่งที่มีแคลอรี่สูง, น้ำตาลแลคโตส หรือน้ำตาลที่มาจากสารสกัดอื่น ๆ ก็ได้ค่ะ ดังนั้นเคล็ดลับง่าย ๆ ที่จะช่วยคุณแยกประเภทน้ำตาลในผลิตภัณฑ์นม คือการตรวจสอบว่าเป็นสูตร “นมแลคโตสฟรี” หรือเป็นสูตรที่ “ใช้สารให้ความหวานทดแทน” อาทิเช่น น้ำตาลหญ้าหวาน, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย, น้ำตาลอิริทริทอล, หรือน้ำตาลไซลิทอลเป็นต้น

 เหมาะสำหรับคนที่ต้องออกกำลังกายต่อเนื่อง

พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้ได้โปรตีนน้อยกว่าที่ควร บางท่านก็เน้นอาหารเสริมที่มีโปรตีนต่ำ เช่นซุปไก่ รังนก วิตามิน สารสกัดต่างๆ ที่ไม่ได้เน้นช่วยรักษากล้ามเนื้อในระยะยาว

คนที่ชอบออกกำลังกายบ่อย ๆ หรือนักกีฬาที่ต้องการเสริมสร้างกล้ามเนื้อนั้น ร่างกายก็จะมีความต้องการโปรตีนมากกว่าคนที่ไม่ออกกำลังกาย หรือคนที่กินมังสวิรัติหรือไม่ทานเนื้อสัตว์ คนเหล่านี้ก็อยู่ในกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับโปรตีนไม่เพียงพอด้วยเช่นกัน ในผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ ก็ควรจะได้รับโปรตีนมากกว่าผู้หญิงทั่วไป รวมทั้งคนป่วยบางคนก็อาจจะต้องการโปรตีนที่ช่วยเสริมภูมิคุมกันเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงขึ้นในปริมาณที่สูงมากเช่นกัน 

ไม่เหมาะกับผู้ที่มีประวัติการแพ้แลคโตส

โกโก้ลดน้ำหนัก ช่วยได้จริงหรือไม่ อันตรายไหม ?

 มีวิตามินอีสำหรับเสริมสร้างสารต่อต้านอนุมูลอิสระ

Report this page